|

 |
 |
|
การจัดระบบการปกครอง ในหมู่บ้านหลักมีผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้นำตามกฎหมาย ส่วนกลุ่มบ้านบริวารจะมีผู้นำทางธรรมชาติ หรือผู้อาวุโสในหมู่บ้านเป็นผู้นำ ผู้ชายจะเป็นผู้นำในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ค่านิยมและความเชื่อจะยึดถือตามหลักของศาสนา อย่างเคร่งครัด และแตกต่างกันไปตามศาสนาที่นับถือ ซึ่งสะท้อนให้เห็นในการประกอบพิธีกรรม วิถีชีวิต และวัฒนธรรมประเพณีของแต่ละชนเผ่า |
|
|

 |
 |
|

 |
สำนักสงฆ์/ อาศรม/ อาราม |
จำนวน |
4 |
แห่ง |

 |
โบสถ์ |
จำนวน |
8 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|

 |
โรงเรียนสังกัด สพฐ. |
จำนวน |
4 |
แห่ง 1 สาขา |

 |
โรงเรียนสังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดน |
|
|
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” |
|
|
จำนวน |
14 |
แห่ง |

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
จำนวน |
10 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|
|

 |
สถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ จำนวน 2 แห่ง |
|

 |
รพ.สต.สองธาร |
ตำบลบ้านทับ |
รับผิดชอบ หมู่ที่ 1, 10, 12 และ 13 |
|

 |
รพ.สต.ทุ่งแก |
ตำบลบ้านทับ |
รับผิดชอบ หมู่ที่ 3 และ 6 |

 |
สถานบริการในพื้นที่ร่วมให้บริการ จำนวน 4 แห่ง |
|

 |
รพ.สต.กองแขก |
ตำบลกองแขก |
รับผิดชอบ หมู่ที่ 5 |
|
|
|

 |
รพ.สต.โหล่งปง |
ตำบลกองแขก |
รับผิดชอบ หมู่ที่ 7, 9 และ 11 |
|

 |
รพ.สต.ปางหินฝน |
ตำบลปางหินฝน |
รับผิดชอบ หมู่ที่ 2 |
|

 |
รพ.สต.แม่แฮใต้ |
ตำบลปางหินฝน |
รับผิดชอบ หมู่ที่ 4 และ 8 |

 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
|
|

 |
พื้นที่เสี่ยงภัย |
|

 |
อุทกภัย/ดินโคลนถล่ม |
ได้แก่ หมู่ที่ 1, 3, 4, 5 และ 8 |
|

 |
วาตภัย |
ได้แก่ หมู่ที่ 1, 2, 6, 7, 9, 10, 11, 12 และ 13 |
|

 |
ภัยหนาว |
ได้แก่ หมู่ที่ 1 – 13 |
|

 |
ภัยแล้ง |
ได้แก่ หมู่ที่ 6, 8, 9 และ 11 |
|
|

 |
ศูนย์เตือนภัยพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมฉับพลัน - ดินถล่ม |
|

 |
สถานีเตือนภัย |
จำนวน 3 แห่ง (หมู่ที่ 1, 5 และ 13) |

 |
บุคลากร/อุปกรณ์/เครื่องมือในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
|

 |
สมาชิก อปพร. |
จำนวน 137 นาย |
|

 |
ถังดับเพลิงชนิดแห้ง |
จำนวน 20 ถัง |

 |
อุปกรณ์ดับไฟป่า จำนวน 28 ชุด แยกเป็น 2 จุด ปฏิบัติ ดังนี้ |
|

 |
ประจำศูนย์ราชการ อบต.บ้านทับ |
จำนวน 15 ชุด |
|

 |
ประจำศูนย์เฉพาะกิจไฟป่าและหมอกควัน/หมู่บ้าน |
จำนวน 13 ชุด |

 |
เครื่องจักรในการสนับสนุนงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
|

 |
รถขุดตีนตะขาบ |
จำนวน 1 คัน |
|

 |
รถบรรทุกหกล้อ |
จำนวน 1 คัน |
|

 |
รถไถฟาร์มแทรกเตอร์ |
จำนวน 1 คัน |
|
|
|
|
|

 |
วิถีชีวิตชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยง บ้านอมแรด หมู่ที่ 8 เป็นหมู่บ้านชนเผ่ากะเหรี่ยง ที่ยังคงรักษาวิถีการดำรงชีวิต อันเป็นเอกลักษณ์ของชนเผ่า เช่น การตำข้าวซ้อมมือด้วยครกกระเดื่อง การทอผ้า การตีมีดแบบโบราณ การทำนาขั้นบันได รวมถึงสภาพความเป็นอยู่ของบ้านเรือน และชุมชน |
|
|

 |
วิถีชีวิตชาวไทยภูเขาเผ่าลัวะ บ้านมืดหลอง หมู่ที่ 2 ซึ่งเป็นหมู่บ้านชนเผ่าลัวะ เดิมชื่อว่า เยืองมายหลอง อพยพมาอยู่ที่ตั้งปัจจุบัน เมื่อประมาณ 200 ปีก่อน นำโดยขุนอิน ซึ่งเป็นขุนหลวงเผ่าลัวะ สมัยเก่าเป็นหมู่บ้านที่คงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ความเป็นชนเผ่าลัวะ วิถีการดำรงชีวิตและวัฒนธรรมประเพณี ที่เป็นเอกลักษณ์และยึดถือปฏิบัติสืบทอดกันมา |

 |
วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิตของชนพื้นเมือง บ้านสองธาร หมู่ที่ 1 และบ้านสบลอง หมู่ที่ 5 ถือเป็นชนพื้นเมืองดั้งเดิมของอำเภอแม่แจ่ม อพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลบ้านทับ เมื่อประมาณ 100 กว่าปีที่ผ่านมา และสืบทอดศิลปวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิม ของชาวพื้นเมืองอำเภอแม่แจ่มไว้ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะงานหัตถกรรมทอผ้าตีนจก ซึ่งมีลวดลายดั้งเดิมที่สวยงามและเป็นเอกลักษณ์ |
|
|